วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2562

การนำหลักสูตรไปใช้


การนำหลักสูตรไปใช้
1. การนำ หลักสูตรไปใช้
2. • การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนสาคัญของการพัฒนาหลักสูตร เป็น กระบวนการดาเนินงานและกิจกรรมต่างๆในการนาหลักสูตรไปสู่ โรงเรียนและจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้เป็นงานเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ตั้งแต่ระดับกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละฝ่ายมีความเกี่ยวข้องในแต่ละ ส่วนของการนาหลักสูตรไปใช้ เช่น หน่วยงานส่วนกลางเกี่ยวข้องใน ด้านการบริหารและบริหารหลักสูตรกับการนิเทศและติดตามผลการใช้ หลักสูตร
3. • การนำหลักสูตรไปใช้จาต้องเป็นขั้นตอนตามลาดับ นับแต่ขั้นการ วางแผน และเตรียมการในการประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการเตรียม บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ขั้นต่อมาคือการดาเนินการนาหลักสูตรไปใช้อย่าง มีระบบ นับแต่การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร การบริการวัสดุ หลักสูตรและสิ่งอานวยความสะดวกในการนาหลักสูตรไปใช้ และ ดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร
4. • ส่วนขั้นสุดท้ายต้องติดตามประเมินผลการนาหลักสูตรไปใช้ นับแต่ การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร การติดตามและประเมินผลการใช้ หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ถือเป็นกระบวนการที่สาคัญ ที่จะทา ให้หลักสูตรที่สร้างขึ้นบรรลุผลตามจุดหมาย และเป็นกระบวนการที่ ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องหลายๆฝ่าย และที่สาคัญ ที่สุดคือครูผู้สอน
5. ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ การนาหลักสูตรไปใช้ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นาหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง ทาให้ การให้ความหมายของคาว่าการนาหลักสูตรไป ใช้แตกต่างกันออกไป นักการศึกษาหลายท่าน ได้แสดงความคิดเห็นหรือให้คานิยามของคาว่า การนาหลักสูตรไปใช้ เช่น
6. • โบแชมป์ ได้ให้ความหมายของการนาหลักสูตรไปใช้ว่า การนาหลักสูตรไป ใช้ หมายถึง การนาหลักสูตรไปปฏิบัติ โดยการะบวนการที่สาคัญที่สุด คือ การแปลงหลักสูตรไปสู่การสอนการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ครู ได้มีพัฒนาการเรียนการสอน • สันติ ธรรมบารุง กล่าวว่า การนาหลักหลักสูตรไปใช้หมายถึงการที่ผู้บริหาร โรงเรียนและครูนาโครงการของหลักสูตรที่เป็นรูปเล่มนั้นไปปฏิบัติให้บัง เกิดผล รวมถึงการบริหารงานด้านวิชาการของโรงเรียนเพื่ออานวยความ สะดวกให้ครูและนักเรียนสามารถสอนและเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ • สงัด อุทรานันท์ ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้ว่า เป็น ขั้นตอนของการพัฒนาหลักสูตรไปสู่การเรียนการสอนในห้องเรียน ได้แก่การ จัดเอกสารประกอบหลักสูตร การเตรียมบุคลากร การบริหารและบริการ หลักสูตร และการนิเทศการใช้หลักสูตร
7. แนวคิดเกี่ยวกับการนาหลักสูตรไปใช้ • สิ่งแรกที่ควรทาคือ การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน ครูผู้นา หลักสูตรไปใช้มีหน้าที่แปลงหลักสูตรไปสู่การสอน โดยใช้หลักสูตร เป็นหลักในการพัฒนากลวิธีการสอน สิ่งที่ควรคานึงถึงในการนา หลักสูตรไปใช้ให้ได้ผลตามเป้าหมาย 1. ครูผู้สอนควรมีส่วนร่วมในการร่างหลักสูตร 2. ผู้บริหารต้องเห็นความสาคัญและสนับสนุนการดาเนินงานให้เกิดผล สาเร็จได้ผู้นาที่สาคัญที่จะรับผิดชอบได้ดี คือครูใหญ่
8. หลักการที่สาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้ 1. จะต้องมีการวางแผนและเตรียมการ 2. จะต้องมีองค์คณะบุคคลทั้งส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นทาหน้าที่ประสานงานกัน 3. ดาเนินการอย่างเป็นระบบ 4. คานึงถึงปัจจัยที่จะช่วยในการนาหลักสูตรไปใช้ 5. ครูเป็นบุคคลที่สาคัญที่สุด ดังนั้น ครูจะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่และจริงจัง 6. จัดตั้งให้มีหน่วยงานที่มีผู้เชี่ยวชาญพิเศษเพื่อให้การสนับสนุนและพัฒนาครู 7. หน่วยงานและบุคคลในฝ่ายต่างๆ ต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ 8. มีการติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆ
9. ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ 1. ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร - การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร - การวางแผนและการทาโครงการศึกษานาร่อง - การประเมินโครงการศึกษานาร่อง - การประชาสัมพันธ์หลักสูตร - การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
10. 1.การตรวจสอบลักษณะหลักสูตร จุดประสงค์ของการตรวจสอบหรือทบทวนหลักสูตรเพื่อต้องการทราบ ว่าหลักสูตรที่พัฒนาเสร็จแล้วนั้นมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด เพื่อ ศึกษาหาวิธีการที่จะนาหลักสูตรไปใช้ปฏิบัติได้จริงตามเจตนารมณ์ ของหลักสูตร รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการ ใช้หลักสูตรและบริบททางสังคมอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการ ใช้หลักสูตร 1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
11. 2.การวางแผนและทาโครงการศึกษานาร่อง เป็นสิ่งที่จาเป็นจะตรวจสอบคุณภาพความเป็นไปได้ของหลักสูตร ก่อนที่จะนาไปใช้จริง วิธีการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติประการแรก คือเลือกตัวแทนของกลุ่มเป้าหมายก่อนที่จะทาการใช้หลักสูตร จากนั้น แปลงหลักสูตรสู่กระบวนการเรียนการสอน พัฒนาวัสดุหลักสูตร เตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมในการใช้หลักสูตร จัดหาแหล่งบริการ สนับสนุนการใช้หลักสูตร งบประมาณ จัดสิ่งแวดล้อมที่จะสนับสนุน การสอน 1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
12. 3.การประเมินโครงการศึกษานาร่อง อาจจะกระทาได้หลายรูปแบบ เช่น การประเมินผลการเรียนจากผู้เรียน โดยการประเมินแบบย่อยและการประเมินรวบยอด การประเมิน หลักสูตรหรือประเมินทั้งระบบการใช้หลักสูตร และปรับแก้จากข้อ ค้นพบ โดยประชุมสัมมนากับผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ หลักสูตร เพื่อนาความคิดเห็นบางส่วนมาปรับปรุงหลักสูตรให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น 1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
13. 4.การประชาสัมพันธ์หลักสูตร การประชาสัมพันธ์ไม่ใช่ว่าจะมาเริ่มตอนจัดทาหลักสูตรต้นแบบเสร็จ แ ล้ ว แต่ควรเริ่มต้นตั้งแต่มีแผนการที่จะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงหลักสูตรโดย ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบเป็นระยะๆ ว่า ได้มีการดาเนินการไปแล้วแค่ ไหนเพียงใด ซึ่งการประชาสัมพันธ์อาจทาได้หลายรูปแบบ เช่น การ ออกเอกสารสิ่งพิมพ์การใช้สื่อสารมวลชน 1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
14. 5.การเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง การอบรมครู ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตรต้องคานึงถึง และต้องกระทาอย่างรอบคอบ นับแต่ขั้นเตรียมการสารวจข้อมูล เบื้องต้นที่นามาใช้ในการวางแผน และวิธีการฝึกอบรมบุคลากร เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการใช้หลักสูตรซึ่งจะมีความแตกต่างของความ พร้อมของการใช้หลักสูตร 1.ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร(ต่อ)
15. 2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร - การบริหารและบริการหลักสูตร - การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร - การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ (ต่อ)
16. 1.การบริหารและบริการหลักสูตร หน่วยงานบริการหลักสูตรส่วนกลางของคณะพัฒนาหลักสูตรจะมี หน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการเตรียมบุคลากรเพื่อใช้หลักสูตรและการ บริหารและบริการวัสดุหลักสูตร ส่วนงานบริหารและบริการหลักสูตร ในระดับท้องถิ่น โรงเรียนก็จะจัดบุคลากรเข้าสอนตามความถนัดและ ความเหมาะสม ได้แก่ 2. ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตร (ต่อ)
17. การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร • หมายถึง การจัดและดาเนินการเกี่ยวกับการสรรหาและกลวิธีการใช้บุคลากร อย่างเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและ ประสบการณ์ รวมทั้งสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีความสามารถในการ ปฏิบัติหน้าที่ และมีความรับผิดชอบต่อการงานอย่างมีประสิทธิภาพ
18. บริการพัสดุหลักสูตร • วัสดุหลักสูตรที่กล่าวถึงนี้ได้แก่ เอกสารหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนทุก ชนิดที่จัดทาขึ้นเพื่อให้ความสะดวก และช่วยเหลือครูให้สามารถใช้หลักสูตรได้ อย่างถูกต้อง
19. การบริหารหลักสูตรภายในโรงเรียน • ได้แก่ การจัดสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ แก่ผู้ใช้หลักสูตร เช่น การบริหาร ห้องสอนวิชาเฉพาะบริการเกี่ยวกับห้องสมุด สื่อการเรียนการสอน บริการ เกี่ยวกับเครื่องมือในการวัดผลและประเมินผลและการแนะแนว เป็นต้น
20. 2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือ 1. การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่น เนื่องจาก หลักสูตรที่ร่างขึ้นมาเพื่อใช้กับประชากรโดยส่วนรวมในพื้นที่กว้างขวาง ทั่วประเทศนั้น มักจะไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ท้องถิ่น ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับสภาพของสังคมใน ท้องถิ่น และสามารถสนองความต้องการของผู้เรียน ควรจะได้มีการปรับ หลักสูตรกลางให้มีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่น ที่ใช้หลักสูตรนั้นๆ
21. 2. การจัดทาแผนการสอนเป็นการขยายรายละเอียดของหลักสูตรให้ไปสู่ ภาคปฏิบัติโดยการกาหนดกิจกรรมและเวลาไว้อย่างชัดเจน สามารถนาไปปฏิบัติได้ แผนการสอนควรจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. แผนการสอนระยะยาว จัดทาเป็นรายภาคหรือรายปี 2. แผนการสอนระยะสั้น นาแผนการสอนระยะยาวมาขยายเป็นรายละเอียดสาหรับ การสอนในแต่ละครั้ง 2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
22. 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละ ครั้งจาเป็นจะต้องเริ่มจากการพิจารณาถึงจุดมุ่งหมายของการสอน การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอาจจะทาได้หลายๆชนิด ซึ่งจะมีความ แตกต่างกันไปอย่างมากในเรื่องการใช้เวลา การใช้แรงงาน การใช้ทรัพยากร ตลอดจนการใช้งบประมาณ โดยเหตุนี้ครูผู้สอนในฐานะเป็นผู้จัดกิจกรรมให้กับ ผู้เรียนควรพิจารณาคัดเลือกกิจกรรมที่เห็นว่าจะก่อให้เกิดความรู้ หรือประสบการณ์ และสามารถทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ง่ายที่สุด เร็วที่สุด ประหยัดเวลาที่สุด 2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
23. 4. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ในการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพนั้น มีขั้นตอนหนึ่งที่จะขาดเสียมิได้คือ การวัดและประเมินผล เพราะ การวัดและประเมินผลจะได้ข้อมูลย้อนกลับ ที่สะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้ว่าบรรลุตาม จุดประสงค์ของการสอนและความมุ่งหมายของหลักสูตรหรือไม่ 2.การดาเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตร (ต่อ)
24. ประกอบไปด้วย การจัดงบประมาณ การใช้อาคารสถานที่ การอบรบ เพิ่มเติมระหว่างการใช้หลักสูตร และการจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อ สนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร 3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
25. 1. การจัดงบประมาณเพื่อการเรียนการสอนนั้นมีความสาคัญมากสาหรับ สถานศึกษาทุกระดับ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต้องบริหารงาน งบประมาณของโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพสูงและตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ ผู้บริหารโรงเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเงินของโรงเรียน จะต้องมีสมรรถภาพในการจัดงบประมาณของโรงเรียนได้ดี ไม่มีผิดพลาด จึงจะ สามารถจัดงบประมาณของโรงเรียนให้สอดคล้องกับแผนการเรียนการสอนของแต่ ละกลุ่มวิชาได้เป็นอย่างดี 3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร (ต่อ)
26. 2. การใช้อาคารสถานที่เป็นสิ่งสนับสนุนการใช้หลักสูตรซึ่งผู้บริหารการศึกษาพึง ตระหนักอยู่เสมอว่า อาคารสถานที่ และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในสถานศึกษาย่อมเป็น ส่วนประกอบสาคัญต่อการเรียนการสอน และการอบรมบ่มเพราะนิสัยแก่ผู้เรียนได้ ทั้งสิ้น ฉะนั้นผู้บริหารจาเป็นจะต้องวางโครงการและแผนการใช้อาคารสถานที่ทุก แห่งให้เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์สูงสุดเท่าที่จะสามารถกระทาได้ 3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
27. 3. การอบรมเพิ่มเติมระหว่างการใช้หลักสูตร ขณะที่ดาเนินการใช้หลักสูตรจะต้อง ศึกษาปัญหาและปรับแก้สิ่งต่างๆ ให้เข้ากับสภาพจริงและความเป็นไปได้ให้มาก ที่สุดเท่าที่จะมากได้ทั้งนี้โดยไม่ให้เสียหลักการใหญ่ของหลักสูตร สิ่งที่ครูต้องการ มากที่สุดคือการฝึกอบรมเพิ่มเติม เพื่อสร้างความพร้อมในการสอนของครูให้เกิด ความมั่นใจมากขึ้น 3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
28. 4. การจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรภารกิจ เกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตรที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของส่วนกลางซึ่งเป็นผู้พัฒนาหลักสูตร หน่วยงานนี้ควรหาทาง สนับสนุนและส่งเสริมหน่วยงานผู้ใช้หลักสูตรให้สามารถดาเนินการใช้หลักสูตร ด้วยความมั่นใจ การจัดตั้งศูนย์วิชาการ อาจจะทาในลักษณะของศูนย์ให้บริการ แนะนาช่วยเหลือ หรือจัดตั้งโรงเรียนตัวอย่าง 3.การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลักสูตร
29. 3. ขั้นติดตามและประเมินผล - การนิเทศและการใช้หลักสูตรในโรงเรียน - การติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตร ขั้นตอนการนาหลักสูตรไปใช้ (ต่อ)
30. 1.การนิเทศและติดตามการใช้หลักสูตรในโรงเรียน การนิเทศมีความจาเป็นอย่างยิ่งในหน่วยงานทุกแห่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน วงการศึกษา เพื่อเป็นการช่วยปรับปรุงการเรียนการสอน การนิเทศและ ติดตามผลการใช้หลักสูตรในระหว่างการใช้หลักสูตรนั้น หน่วยงาน ส่วนกลางในฐานะผู้พัฒนาหลักสูตรควรจัดส่งเสริมเจ้าหน้าที่ไปให้ คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรเพิ่มเติมและติดตามผลการใช้หลักสูตรใน โรงเรียนว่าได้ดาเนินการด้วยความถูกต้องหรือไม่ มีปัญหาใดเกิดขึ้นหรือไม่ หากไม่มีปัญหาก็จะได้แก้ไขให้ลุล่วงไป 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
31. การนิเทศการใช้หลักสูตรหรือนิเทศการจัดการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงหลัก สาคัญของการนิเทศ คือ การให้คาแนะนาช่วยเหลือไม่ใช่การตรวจสอบเพื่อจับผิด แต่ประการใด โดยลักษณะเช่นนี้ ผู้นิเทศจาเป็นจะต้องสร้างความสัมพันธ์และ ความเข้าใจอันดีกับผู้รับการนิเทศ การดาเนินการนิเทศจะต้องดาเนินไปด้วย บรรยากาศแห่งความเป็นประชาธิปไตยและร่วมมือกัน 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
32. 2.การติดตามและการประเมินผลการใช้หลักสูตร จะต้องมีการวางแผนไว้ให้ชัดเจนว่าจะทาการประเมินส่วนใดของ หลักสูตร การออกแบบการประเมินที่กว้างและลึก คือการมองภาพรวม ทั้งหมดของการใช้หลักสูตรของการหาตัวบางชี้สาคัญๆ นั้นจะต้อง ระมัดระวังเรื่องตัวแปรทางวัฒนธรรมทางสังคมและทางเศรษฐกิจด้วย เพราะบางอย่างผู้ประเมินอาจจะมองข้ามไป 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
33. กระบวนการในการประเมินผลเพื่อควบคุมภาพของหลักสูตร ในแง่ของการ ปฏิบัติการกระบวนการของการประเมินผลเพื่อควบคุมคุณภาพของหลักสูตรแบ่ง ออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
34. 1. การตรวจสอบประสิทธิผลและความตกต่าของคุณภาพของหลักสูตร วิธีการ ตรวจสอบเริ่มด้วยการรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน (Basic Data) เพื่อใช้เปรียบเทียบ กับข้อมูลระหว่างการดาเนินการ ข้อมูลพื้นฐานนี้ควรเก็บรวบรวมในระหว่างที่นา หลักสูตรไปทดลองในภาคสนาม ควรเก็บให้ได้มากและหลากหลาย 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
35. 2. การตรวจสอบหาเหตุที่ทาให้คุณภาพตกต่า งานนี้เริ่มขึ้นเมื่อได้มีการพบแล้วว่า คุณภาพของหลักสูตรตกต่าลง มีสมมุติฐานหลายเรื่องที่อาจนามาใช้ในการค้นหา สาเหตุที่สาคัญคือ 1. ความล้มเหลวในการใช้หลักสูตร การที่จะใช้หลักสูตรให้มีประสิทธิผลใน ทุกสภาพย่อมเป็นไปไม่ได้หลักสูตรแต่ละหลักสูตรย่อมมีจุดหมายที่แตกต่างกัน และการที่บรรลุจุดหมายก็ต่อเมื่อได้มีการใช้หลักสูตรในสภาพและเงื่อนไขที่ เหมาะสมเท่านั้น 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
36. 2. ความเปลี่ยนแปลงของสภาพและเงื่อนไขในเวลาที่นาหลักสูตรไปใช้สภาพ ภายในโรงเรียนหรือสถานศึกษาที่นาหลักสูตรไปใช้ย่อมเปลี่ยนแปลงได้ทุกเวลา ตัวอย่างเช่น ในตอนที่ทาการทดลองใช้ในภาคสนามขวัญและกาลังใจของผู้สอนดี มาก แต่ตอนที่เอาหลักสูตรไปใช้จริงๆ กลับลดต่าลง 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
37. 3. ความเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมาย เกี่ยวกับเรื่องนี้อาจเป็นไปได้ว่าลักษณะ ของกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองภาคสนามกับที่นาหลักสูตรมาใช้จริงมีความ แตกต่างกันมาก เช่น ในด้านระดับความรู้ความสามารถ เจตคติ และค่านิยมที่มีต่อ การเรียน 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
38. 4 วิธีการวิเคราะห์ผลการทดสอบ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าการทดสอบหรือการ ประเมินผลนั้นมีทั้งการทดสอบระหว่างการดาเนินการ หรือการทดสอบย่อย และ การทดสอบขั้นสุดท้าย หรือการทดสอบรวม การทดสอบรวมเป็นการทดสอบที่ บอกให้เราทราบว่าหลักสูตรดีขึ้นหรือเสื่อมคุณภาพลง แต่ไม่สามารถชี้แจงเจาะจง ลงไปว่าปัญหาอยู่ที่ตรงไหนเพราะเหตุใด ในทางตรงข้ามการทดสอบระหว่าง ดาเนินการหรือการทดสอบย่อย ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยจุดอ่อนของผู้เรียนสามารถช่วย ให้เราทราบว่าหลักสูตรมีจุดอ่อนในเรื่องอะไร และเป็นเพราะเหตุใด ด้วยเหตุนี้เรา จึงใช้การทดสอบย่อยเป็นเครื่องชี้ถึงสาเหตุการตกต่าของหลักสูตร 3. ขั้นติดตามและประเมินผล (ต่อ)
39. 3. แก้ไขและตรวจสอบประสิทธิผลของวิธีการที่นามาแก้ไข หลังจากที่ได้ทราบ แล้วว่าความตกต่าของคุณภาพหลักสูตรคือเรื่องอะไร และเกิดจากสาเหตุอะไรแล้ว ขั้นต่อไปของกระบวนการควบคุมคุณภาพก็คือการแก้ไข สาหรับการแก้ไขนี้อาจทา ได้หลายวิธีทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสาเหตุและปัญหาที่ทาให้คุณภาพตกต่า ในบางกรณีอาจ ใช้วิธีปรับปรุงวิธีการสอนและแก้ไขหลักสูตรบางส่วน เช่น ตัดทอนหรือเพิ่มเติม เนื้อหาสาระแก้ไขวิธีสอนโดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้เล็กลง
40. บทบาทของหน่วยงานและบุคลากรในการนาหลักสูตรไปใช้ บทบาทของหน่วยงาน 1. การใช้หลักสูตรโดยหน่วยงานส่วนกลางที่มีบทบาทเต็มที่ 2. การใช้หลักสูตรโดยให้โรงเรียนมีบทบาทเต็มที่ 3. การใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนกลางมีบทบาทเป็นส่วนใหญ่ และมี หน่วยงานท้องถิ่นเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ 4. ใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสาคัญ และหน่วยงาน ส่วนกลางเป็นผู้ให้การสนับสนุน
41. บทบาทของบุคลากรในการนาหลักสูตรไปใช้ 1. ผู้บริหารโรงเรียน ให้การสนับสนุนการนาหลักสูตรไปใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพ ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตร สามารถบริหารหลักสูตร 2. หัวหน้าหมวด ดาเนินการส่งเสริมการใช้หลักสูตรต้องมีความเข้าใจหลักสูตรใน สาระที่ตนรับผิดชอบ และวางแผนดาเนินงานการใช้ระดับของตนเองได้อย่าง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 3. ครูผู้สอน ในฐานะเป็นผู้ใช้หลักสูตรโดยตรงและโดยอ้อมคือเข้าร่วมพัฒนา หลักสูตรในระดับต่างๆ และเป็นผู้ติดตามการใช้หลักสูตรอย่างใกล้ชิด
42. สรุป การนาหลักสูตรไปใช้เป็นการแปลงหลักสูตรไปสู่การสอน เป็น กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย และเป็นกิจกรรมที่เป็นขั้นตอนการ ปฏิบัติหลายขั้นตอน วิธีการของกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้ น่าจะเป็นหัวใจ สาคัญของการพัฒนาหลักสูตรมีผู้กล่าวว่า แม้เราจะมีหลักสูตรที่ดีแสนดี แต่ถ้านา หลักสูตรไปใช้อย่างไม่ถูกต้องแล้วหลักสูตรนั้นก็ไม่มีประโยชน์อะไร เพราะฉะนั้นผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการนาหลักสูตรไปใช้ จะต้องศึกษา ทาความ เข้าใจกับการนาหลักสูตรไปใช้ตามบทบาทหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้ การใช้หลักสูตรนั้น สัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น