วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2562

ตรวจสอบทบทวน(Self-Test) และกิจกรรม(Activity)บทที่ 10 สัปดาห์ที่ 12


ตรวจสอบทบทวน
การประเมินหลักสูตรมีความจำเป็นหรือไม่อย่างไร
หลักสูตรเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการจัดการศึกษา เพราะเป็นการขยายแนวคิดในการจัดการศึกษาหรือปรัชญาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ ดังนั้นหากสามารถสร้างหลักสูตรที่ดีได้ย่อมจะทำให้การจัดการศึกษาบรรลุตามจุดประสงค์ที่วางไว้ การที่จะทราบได้ว่าหลักสูตรที่สร้างขึ้นไว้นั้นเหมาะสมหรือไม่เพียงใดนั้น จึงจำเป็นต้องมีการประเมินผล การประเมินหลักสูตรมีความสำคัญอย่างมากในกระบวนการจัดการศึกษา เป็นเครื่องมือที่จำเป็นสำหรับการควบคุมคุณภาพ  การประกันคุณภาพของการศึกษาหลาย ๆ ระดับ  ตั้งแต่ระดับห้องเรียน  ระดับโรงเรียน  ระดับเขตจนถึงระดับชาติ  ผู้ที่มีบทบาทในการประเมินทั้งในระดับผู้จัดทำนโยบายการศึกษา  ผู้กำกับดูแล  จนถึงระดับผู้ปฏิบัติ  จึงควรทำความเข้าใจกับประเด็นต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการประเมินหลักสูตรให้ชัดเจน  เพื่อจะได้กำหนดวางแผนการประเมินหลักสูตรที่สอดคล้องกับเป้าหมายของการประเมิน และสามารถนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้ได้จริงดังนั้น การประเมินผลหลักสูตรจึงเป็นขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร และเนื่องจากหลักสูตรนั้นต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ไม่สามารถกำหนดไว้ตายตัวได้ การพัฒนาหลักสูตรจึงเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันไปตั้งแต่การสร้างหลักสูตรจนถึงการนำไปใช้ในโรงเรียน
                โรงเรียนใดที่มีการประเมินหลักสูตรก็จะมีการพัฒนาทางวิชาการต่างๆได้ดีขึ้นตามโดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางด้านวิชาการและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะสูงขึ้นทุกๆ ปีอย่างต่อเนื่อง


                                                       กิจกรรม
เขียนรายงานการประเมินโดยย่อย
                  รายงานการประเมินโครงการ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการประเมินโครงการ ที่นำเสนอ สารสนเทศเชิงคุณค่าทั้งหมดที่ได้มาจากการประเมิน เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับทราบ และน าผลการประเมินไปใช้ อีกทั้งเพื่อให้บุคคลทั่วไปได้ศึกษาและเป็นแนวทางในการด าเนินโครงการและการ ประเมินโครงการ การเขียนรายงานการประเมินยึดหลักความถูกต้อง ความครบถ้วนสมบูรณ์ ความเป็น ระบบ ความเป็นเอกภาพ ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง ความชัดเจน ความสม่ าเสมอ ความตรง ประเด็น และความต่อเนื่อง ลักษณะและวัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานประเมินโครงการ การเขียนรายงานการประเมินโครงการเป็นขั้นตอนส าคัญขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการประเมิน โครงการ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่จะสะท้อนให้เห็นภาพของการประเมินโครงการ ซึ่งหากจะเขียนตามหลัก สากลแล้วก็คล้ายกับการเขียนรายงานการวิจัยทั่วไป (พิษณุ ฟองศรี, 2553: 273) อาจจะมีความแตกต่างกัน บ้าง เพราะวัตถุประสงค์ต่างกัน วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษา ค้นคว้า หาค าตอบ ข้อความรู้ องค์ ความรู้หรือความจริงในประเด็นปัญหาที่สงสัยใคร่อยากรู้ เพื่อน าไปสู่ข้อสรุปอันเป็นองค์ความรู้สากล แต่การ ประเมิน มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งค้นหาค าตอบเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งที่ประเมิน ดังนั้นรายงานการประเมินจึง เป็นการน าเสนอสารสนเทศเชิงคุณค่าที่ได้มาจากการประเมิน (สมคิด พรมจุ้ย, 2552: 3-4) วัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานการประเมินโครงการ เพื่อการน าเสนอผลการประเมินให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้น าไปประกอบการตัดสินใจปรับปรุงการด าเนินงานและการพัฒนาโครงการในกรณีจะด าเนินโครงการต่อ หรือประกอบการตัดสินใจยกเลิกโครงการ ตลอดจนให้บุคคลทั่วไปใช้เป็นข้อมูลในการน าไปประยุกต์ใช้ในการ แก้ปัญหาหรือวางแผนการด าเนินงาน และใช้ประโยชน์ส าหรับการบริหารจัดการ ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากการ ประเมินส่วนใหญ่จะเป็นผู้บริหาร ผู้รับบริการจากโครงการที่ต้องการทราบสาระส าคัญที่จะใช้ในการตัดสินใจ การน าสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงโครงการให้บรรลุเป้าหมาย และส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลส าหรับการด าเนินงานตามโครงการและกิจกรรมอย่างแท้จริง สรุปวัตถุประสงค์ของการเขียนรายงานการประเมินโครงการ 1. เพื่อน าเสนอสารสนเทศให้ผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้ทราบผลการประเมินและน าผล การประเมินไปใช้ 2. เพื่อเป็นการให้การศึกษาและแนวทางแก่ผู้สนใจในสาระของโครงการ วิธีการประเมินโครงการ และการเขียนรายงานการประเมิน หลักการทั่วไปของการเขียนรายประเมินโครงการ ส่วนประกอบ หัวข้อ ค าที่ใช้ การเรียงล าดับหัวข้อหรือค า และรูปแบบการเขียนรายงานการ ประเมินโครงการ อาจจะแตกต่างกันบ้างตามเงื่อนไขของหน่วยงานหรือสถาบัน และตามความนิยม แต่ยึด หลักการเขียนรายงานเหมือนกันดังนี้(สมคิด พรมจุ้ย, 2552: 7-9) 1. ความถูกต้อง (accuracy หรือ correctness) ผู้เขียนรายงานการประเมินต้องตรวจสอบเนื้อหา สาระทุกรายการที่เขียน น าเสนอในรายงานจะต้องไม่มีข้อผิดพลาดในเรื่องข้อเท็จจริง มีความถูกต้องตาม หลักวิชา ถูกต้องตามหลักภาษา รูปแบบของการรายงานการประเมินที่ก าหนดไว้และเป็นที่ยอมรับในวง 2 วิชาการ เช่น การเลือกใช้รูปแบบการประเมินมีความถูกต้อง เหมาะสมกับเป้าของการประเมิน การก าหนด แหล่งข้อมูลเหมาะสม การสุ่มตัวอย่างเหมาะสม เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินมีความถูกต้องตามหลักวิชาและ มีคุณภาพเชื่อถือได้ เลือกใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้องเหมาะสมกับระดับการวัด การแปลความหมาย ข้อมูล และการน าเสนอผลการประเมินมีความถูกต้อง 2. ความครบถ้วนสมบูรณ์ (completeness) เนื้อหาสาระในรายงานการประเมินจะต้องมีความ ครบถ้วนสมบูรณ์ทุกหัวข้อตามขั้นตอนของกระบวนการประเมินหรือส่วนประกอบของรายงานการประเมินที่ ควรจะเป็น หรือตามรูปแบบที่ก าหนดไว้ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยครบคลุมความเป็นมาและ ความส าคัญของการประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน ขอบเขตของการประเมิน นิยามศัพท์เฉพาะ วิธีการประเมินซึ่งจะต้องกล่าวถึงรูปแบบของการประเมิน กลุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูลหลัก เครื่องมือที่ใช้ใน การประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ เป็นต้น 3. ความเป็นระบบ (systematic) รูปแบบวิธีการเขียน วิธีการอ้างอิง และการพิมพ์ จะต้องเป็นไป ตามกรอบโครงสร้างหรือส่วนประกอบของรายงานการประเมิน และเขียนน าเสนอให้เป็นระบบเดียวกัน 4. ความเป็นเอกภาพ (unity) เนื้อหาสาระในแต่ละบท แต่ละตอน หรือแต่ละเรื่อง ต้องน าเสนอ หรือเรียบเรียงให้มีความเป็นเอกภาพ หรือเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ในบทที่ว่าด้วยวิธีการประเมินจะต้อง น าเสนอวิธีการหรือแนวทางการประเมิน ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการประเมิน กลุ่มตัวอย่างหรือผู้ให้ข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์การประเมิน 5. ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยง (correspondence) เนื้อหาสาระระหว่างบท ระหว่างตอน จะต้องมีความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยงกันโดยตลอด เป็นเหตุเป็นผลสอดคล้องกันอย่างต่อเนื่อง เช่น ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยงระหว่างวัตถุประสงค์ของการประเมินกับขอบเขตของการประเมิน กรอบ แนวคิดการประเมิน และผลการประเมิน เป็นต้น 6. ความชัดเจน (clarity) ข้อความหรือภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานต้องมีความชัดเจน เข้าใจง่าย ไม่ก ากวมหรือคลุมเครือ โดยไม่ต้องตีความข้อความ เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับงานประเมินนั้นๆ อย่างถูกต้อง ข้อควรพิจารณาที่จะช่วยให้การเขียนชัดเจน คือ 6.1 ใช้ประโยคง่ายๆ ถูกหลักไวยากรณ์ 6.2 ไม่ใช้ถ้อยค าที่คลุมเครือ ไม่มีความหมาย หรือถ้อยค าที่มีความหมายก ากวม 6.3 จัดแบ่งหัวข้อย่อย วรรคตอน และย่อหน้าให้เหมาะสม 6.4 หลีกเลี่ยงการใช้ค าย่อ หากจ าเป็นต้องใช้ค าย่อ ควรเลือกใช้ค าย่อที่ทางราชการก าหนด หรือ เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไป 7. ความสม่ าเสมอ (consistency) การใช้ค า วลี หรือข้อความในรายงานการประเมินจะต้องเป็น แบบเดียวกันหรือมีความคงที่ คงเส้น คงวา ตลอดทั้งฉบับ เช่น ค าว่า นักเรียน นักศึกษา นิสิต นักศึกษา ผู้เรียน ปรากฏในรายงานฉบับเดียวกัน ซึ่งควรเลือกใช้ค าใดค าหนึ่งให้ตลอดทั้งฉบับ 8. ความตรงประเด็น (pertinent) เนื้อหาสาระของรายงานการประเมินต้องตรงประเด็นมุ่งตอบ ค าถามเชิงประเมินหรือตรงตามวัตถุประสงค์ของการประเมินที่ตั้งไว้เป็นหลัก หลีกเลี่ยงการเขียนรายงาน ประเมินแบบวกวนหรือยืดยาวที่มีสาระไม่ตรงประเด็น 9. ความต่อเนื่อง (continuous) การเขียนรายงานการประเมิน ควรเรียบเรียงความคิดให้เป็นระบบ ระเบียบ เรียบเรียงข้อความต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผลเป็นขั้นตอนที่ดี การเขียนรายงานการประเมิน ควร เริ่มจากเหตุผลหรือความเป็นมาและความส าคัญของการประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน ขอบเขตของ การประเมิน นิยามศัพท์เฉพาะ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูล การ 3 วิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการประเมิน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ โดยน าเสนอ ประเด็นต่างๆ ให้ต่อเนื่องสอดคล้องกัน ประเภทของรายงานการประเมินโครงการ การรายงานการประเมินโครงการ แบ่งประเภทได้ตามเกณฑ์การแบ่งดังนี้ แบ่งตามลักษณะของการน าเสนอ การน าเสนอผลการประเมินโครงการ เสนอได้4 ลักษณะ คือ 1. การน าเสนอด้วยวาจา 2. การน าเสนอด้วยการชี้แจงสาธารณะ 3. การน าเสนอด้วยเอกสารรายงานผลการประเมินที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร 4. การน าเสนอด้วยวาจาควบคู่กับเอกสารรายงาน กรณีน าเสนอด้วยเอกสารรายงานผลการประเมินที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ยังแบ่งประเภทของ รายงานได้อีก ดังนี้ แบ่งตามจุดประสงค์ของการรายงาน การรายงานเพื่อให้ผู้รับรายงานรับทราบผลการประเมิน และมีจุดประสงค์ต่อเนื่องไป ดังนี้ 1. การรายงานต่อผู้บริหาร จุดประสงค์ของการรายงานเพื่อให้ผู้บริหารทราบผลการประเมินและน า ผลการประเมินไปใช้ในการบริหารหรือการปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้อง อาจจะรายงานด้วยวาจา รายงาน ด้วยการเขียนรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร หรือรายงานด้วยวาจาร่วมกับการเขียนรายงาน โดยทั่วไปจะเป็น การรายงานอย่างสรุป กรณีเป็นการเขียนรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่า “บทสรุปส าหรับผู้บริหาร” 2. การรายงานต่อสาธารณะ จุดประสงค์ของการรายงานเพื่อให้บุคคลทั่วไปได้รับทราบผลการ ประเมินและอาจน าผลการประเมินไปใช้ในการศึกษา ได้แบบอย่าง แนวทางจากเนื้อหาสาระของโครงการ หรือวิธีการประเมิน ลักษณะการรายงานอาจจะรายงานด้วยวาจา รายงานด้วยการเขียนรายงานเป็นลาย ลักษณ์อักษร หรือรายงานด้วยวาจาร่วมกับการเขียนรายงาน กรณีเป็นการเขียนอาจจะเป็นการรายงานอย่าง ละเอียด เรียกว่า “รายงานฉบับสมบูรณ์” หรือรายงานอย่างสรุป เรียกว่า “บทคัดย่อ” แบ่งตามลักษณะของการเขียนรายงาน รายงานการประเมินโครงการโดยทั่วไปนิยมเขียนเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. รายงานประเมินโครงการแบบไม่แยกบท การเขียนรายงานแบบไม่แยกบทหรือการเขียนรายงานแบบไม่เป็นทางการ เป็นการเขียน รายงานอย่างละเอียด มีส่วนประกอบครบทั้ง 3 ส่วน คือ ส่วนน า ส่วนเนื้อหา และ ส่วนท้าย เขียนเป็นหัวข้อ แต่ละหัวข้อมีสาระส าคัญครบถ้วนตามหลักการเขียนรายงานการประเมินโครงการ ลักษณะการน าเสนอ น า หัวข้อมาเรียงต่อเนื่องกัน ไม่แยกบท ได้แก่ ส่วนน า ประกอบด้วย ปก บทคัดย่อ บทสรุปส าหรับผู้บริหาร สารบัญ ฯลฯ ส่วนเนื้อหาสาระ ประกอบด้วยบทน า เอกสารและงานประเมินที่เกี่ยวข้อง วิธีด าเนินการ ประเมิน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการประเมิน อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ส่วนท้าย ประกอบด้วยบรรณานุกรม ภาคผนวก เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ประวัติผู้ประเมิน 4 2. รายงานประเมินโครงการแบบแยกบท เป็นการเขียนรายงานแบบแยกบท หรือการเขียนรายงานแบบเป็นทางการ หรือการเขียน รายงานเชิงวิชาการ ส่วนประกอบของรายงานมี3 ส่วน เช่นกัน คือ ส่วนน า ส่วนเนื้อหา และ ส่วนท้าย โดย ส่วนน าและส่วนท้ายมีรายละเอียดและลักษณะการเขียนเหมือนกับรายงานแบบไม่แยกบท แต่ส่วนเนื้อหาจะ เขียนรายงานแยกเป็นบท โดยทั่วไปนิยมแบ่งเป็น 5 บท ได้แก่ บทที่ 1 บทน า บทที่ 2 เอกสารและงาน ประเมินที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีด าเนินการประเมิน บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปผลการ ประเมิน อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ส่วนประกอบของรายงานการประเมินโครงการ ส่วนประกอบของรายงานการประเมินโครงการ แบ่งเป็น 3 ส่วน แต่ละส่วนมีส่วนประกอบดังนี้ ส่วนน า มีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. ปกหน้า ประกอบด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้ประเมิน สถานที่หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ 2. ปกใน มีส่วนประกอบเหมือนปกหน้า 3. บทคัดย่อหรือบทสรุปส าหรับผู้บริหาร 4. ประกาศคุณูปการหรือกิตติกรรมประกาศ 5. สารบัญ ประกอบด้วยสารบัญเนื้อหา สารบัญตาราง และสารบัญภาพ ส่วนเนื้อหา มีส่วนประกอบ แยกเป็นบทได้ดังนี้ บทที่ 1 บทน า ประกอบด้วย 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของการประเมิน 1.2 วัตถุประสงค์ของการประเมิน 1.3 ขอบเขตของการประเมิน 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และสาระส าคัญของโครงการ ประกอบด้วย 2.1 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงการ 2.2 สาระส าคัญของโครงการ 2.3 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการประเมินโครงการและรูปแบบการประเมิน 2.4 งานวิจัยและงานประเมินที่เกี่ยวข้อง 2.5 กรอบแนวทางการประเมิน บทที่ 3 วิธีด าเนินการประเมิน ประกอบด้วย 3.1 รูปแบบการประเมิน (Model) ที่ใช้ 3.2 แหล่งข้อมูล (ผู้ให้ข้อมูลส าคัญ หรือประชากรและกลุ่มตัวอย่าง) 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 5 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล 3.6 เกณฑ์ (การแปลผล และการตัดสิน) บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล หรือผลการประเมินจ าแนกตามวัตถุประสงค์หรือตามรูปแบบของ การประเมิน บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ประกอบด้วย 5.1 สรุปย่อในเรื่องความเป็นมาของโครงการ เหตุผลที่มุ่งประเมิน วัตถุประสงค์ของการ ประเมิน และวิธีการประเมิน 5.2 สรุปผลการประเมิน 5.3 อภิปรายผลการประเมิน 5.4 ข้อเสนอแนะประกอบด้วย ข้อเสนอแนะการน าผลการประเมินไปใช้ และข้อเสนอแนะ การประเมินในครั้งต่อไป ส่วนท้าย มีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง 2. ภาคผนวก 2.1 ภาคผนวก ก. รายละเอียดของโครงการ 2.2 ภาคผนวก ข. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2.3 ภาคผนวก ค. รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และผู้ให้ข้อมูลส าคัญ 2.4 ภาคผนวก ง. รายละเอียดผลการวิเคราะห์ข้อมูล ฯลฯ แนวปฏิบัติการเขียนรายงานการประเมินโครงการ การเขียนส่วนน าของรายงานประเมินโครงการ ส่วนน า เป็นการเขียนข้อมูลทั่วไปและส่วนสรุปของรายงานการประเมิน มีส่วนประกอบและแนวการ เขียน ดังนี้ 1. ปก ประกอบด้วยปกนอกหรือปกหน้า และปกใน 1.1 ปกนอกหรือปกหน้า ประกอบด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้ประเมิน ชื่อหน่วยงาน และปีที่รายงาน 1.2 ปกใน ข้อความคล้ายปกนอก แต่ต่างกันคือ ปกหน้ามักใช้กระดาษชนิดหนาหรือชนิดหนา ส่วนปกในใช้กระดาษอ่อน และปกในระบุชื่อ นามสกุล ของหัวหน้าและคณะประเมิน 2. บทคัดย่อหรือบทสรุปส าหรับผู้บริหาร 2.1 บทคัดย่อ เขียนโดยสรุปประมาณ 1 หน้า ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อผู้ประเมิน ปีที่ ประเมิน วัตถุประสงค์โครงการ วิธีด าเนินการประเมิน และผลการประเมิน 2.2 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร เขียนโดยสรุปประมาณ 3 หน้า มีส่วนประกอบเหมือนกับ บทคัดย่อ แต่มีรายละเอียดมากกว่า และเพิ่มข้อเสนอแนะส าหรับการน าผลการประเมินไปใช้ 6 3. ประกาศคุณูปการหรือกิตติกรรมประกาศ เป็นการเขียนขอบคุณบุคคลต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ หรือมีส่วนให้งานส าเร็จ 4. สารบัญ เป็นบัญชีรายการชื่อและเลขหน้าของเนื้อหา ตาราง และแผนภาพ ประกอบด้วย 4.1 สารบัญเนื้อหา เป็นการน าเสนอบัญชีรายการส่วนประกอบเนื้อหาของทุกส่วน ทั้งส่วนน า ส่วนเนื้อหา และส่วนท้าย การเขียนชื่อหัวข้อและค าต้องตรงและครบถ้วนตามที่ปรากฏในเล่ม 4.2 สารบัญตาราง เป็นบัญชีชื่อรายชื่อตาราง เขียนให้ถูกต้องตรงกับเลขตารางและชื่อตาราง และครบถ้วนตามที่ปรากฏในเล่ม 4.3 สารบัญภาพ เป็นบัญชีชื่อรายชื่อภาพหรือแผนภาพ ใช้หลักการเขียนเช่นเดียวกัน คือ ต้อง ตรงและครบถ้วนตามที่ปรากฏในเล่ม การเขียนส่วนเนื้อหาของรายงานประเมินโครงการ ส่วนเนื้อหาของรายงานประเมินโครงการ แนวทางการเขียน นอกจากจะยึดหลักการเขียนรายงาน 9 หลักการตามที่ได้เสนอไว้แล้ว ภาษาที่ใช้ในการเขียนเกือบทั้งหมด (ยกเว้นข้อเสนอแนะ) ต้องเป็นภาษาอดีต (past tense) คือ ได้ท าอะไรไปบ้าง ท าอย่างไร และผลเป็นอย่างไร ดังนั้น ถ้าจะน ารายละเอียดของแต่ละ หัวข้อที่เขียนไว้ในโครงร่างการประเมิน (proposal) หรือข้อเสนอโครงการประเมิน (Term of Reference : TOR) ซึ่งเขียนไว้ในลักษณะภาษาอนาคต (future tense) คือ จะท าอะไร จะท าอย่างไร และคาดว่าจะ ได้รับผลอย่างไร จะต้องน ามาปรับภาษาให้เป็นภาษาอดีต และเขียนตามที่เป็นจริง คือ ได้ท าอะไรไปบ้าง ท า อย่างไร และได้ผลเป็นอย่างไร ตามที่เป็นจริง นอกจากนี้ในแต่ละส่วนประกอบมีแนวการเขียนเพิ่มเติมดังนี้ บทที่ 1 บทน า มีส่วนประกอบและแนวการเขียน ดังนี้ 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของการประเมิน แนวการเขียนให้ก าหนดประเด็นที่จะน าเสนอ และเรียงล าดับประเด็นที่จะเสนอไว้ก่อนที่จะลงมือเขียน โดยกล่าวถึงความเป็นมาและความจ าเป็นของ โครงการและการประเมินโครงการอย่างน้อย 4 ประเด็นและเรียงล าดับการน าเสนอดังนี้ คือ ความเป็นมา และความส าคัญของโครงการ ความจ าเป็นต้องมีการประเมินโครงการ รูปแบบ (model) ที่ใช้ในการประเมิน ครั้งนี้ และการลงสรุปสู่ความส าคัญหรือประโยชน์ของการประเมินครั้งนี้ 1.2 วัตถุประสงค์ของการประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมินโครงการเขียนให้สอดคล้องรูปแบบ (model) ที่ใช้ในการประเมิน โดยใช้ภาษาที่กระชับ เข้าใจง่าย และมีความชัดเจน เช่น ใช้รูปแบบ CIPP ในการประเมิน ให้เขียนวัตถุประสงค์ว่า เพื่อประเมินโครงการ (ระบุชื่อโครงการ) ในด้าน 1) บริบทของ โครงการ (context) 2) ปัจจัยน าเข้าของโครงการ (input) 3) กระบวนการด าเนินโครงการ (process) 4) ผลการด าเนินโครงการ (product) โดยระหว่างข้อรองสุดท้ายกับข้อสุดท้าย (กระบวนการด าเนินโครงการกับ ผลการด าเนินโครงการ) ไม่ต้องเชื่อมค าว่า “และ” 1.3 ขอบเขตของการประเมิน เขียนให้สอดคล้องกับกรอบแนวทางการประเมิน ประกอบด้วย ขอบเขตประชากร ขอบเขตเนื้อหา ขอบเขตพื้นที่ที่ประเมิน และขอบเขตเวลาในการประเมิน มีแนวการ เขียนดังนี้ 1.3.1 ขอบเขตประชากร ให้ระบุกลุ่มเป้าหมายที่ให้ข้อมูล ว่าเป็นใคร จ านวนเท่าไร ถ้าระบุ จ านวนไม่ได้ให้ประมาณ 1.3.2 ขอบเขตเนื้อหา ให้ระบุตัวบ่งชี้แต่ละด้านของรูปแบบที่ใช้ประเมิน ว่าจะรวบรวมข้อมูล เรื่อง (ตัวแปร) อะไร มีหัวข้อย่อย (เนื้อหา) อะไรบ้าง 7 1.3.3 ขอบเขตพื้นที่ประเมิน ให้ระบุพื้นที่ที่จะรวบรวมข้อมูล คือพื้นที่ที่อยู่หรือที่ท างานของ ประชากร โดยทั่วไปก็คือ พื้นที่ของการด าเนินโครงการนั่นเอง 1.3.4 ขอบเขตระยะเวลา ให้ระบุระยะเวลาท าการประเมินตั้งแต่เริ่มจนจบถึงการรายงานการ ประเมิน 1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ ให้นิยามศัพท์เฉพาะค าที่ต้องการให้ความหมายที่เกิดความเข้าใจตรงกัน ไม่ จ าเป็นต้องนิยามศัพท์ทุกค า เช่น เพศ ไม่ต้องนิยาม เพราะเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าหมายถึงเพศชาย-หญิง การให้ความหมายค าหรือกลุ่มค าที่ใช้ในการประเมินต้องเขียนให้ชัดเจน อยู่ในรูปของนิยามเชิงปฏิบัติการที่ สามารถวัดได้ สังเกตได้ ความหมายที่เขียนไม่ใช่ความหมายที่บัญญัติศัพท์ในพจนานุกรม แต่เป็นค าที่ผู้ ประเมินบัญญัติขึ้นมาเพื่อใช้ในการประเมินนี้เท่านั้น แนวการเขียนนิยามศัพท์เฉพาะมีดังนี้ 1.4.1 ก าหนดค าที่ต้องนิยาม เฉพาะค าส าคัญ ได้แก่ ค าในรูปแบบ ตัวแปรหรือตัวบ่งชี้ และค าที่ ต้องการขยายความให้ชัดเจนมีความหมายต่างจากความหมายที่ทราบกันโดยทั่วไป 1.4.2 เขียนค านิยาม โดย พยายามเขียนเป็นรูปธรรมที่เรียกว่า นิยามเชิงปฏิบัติการ กล่าวคือ ค า กลุ่มค าหรือตัวแปรนี้ คนอื่นหรือเอกสารแหล่งอื่นอาจจะให้ความหมายไว้อย่างไรก็ตาม แต่ส าหรับการ ประเมินครั้งนี้ ค า กลุ่มค า หรือตัวแปรนี้ มีความหมายดังที่ผู้ประเมินให้นิยามไว้ 1.4.3 เรียงล าดับค านิยาม โดยเรียงจากค าที่ส าคัญ คือนิยามค าตามรูปแบบหรือวัตถุประสงค์ และกรอบแนวทางของการประเมินก่อนค าอื่นที่เกี่ยวข้อง 1.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน เป็นส่วนที่ระบุถึงความส าคัญหรือประโยชน์ที่ได้รับหลังจาก ด าเนินการประเมินโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ว่าสิ่งที่ได้จากการประเมินนี้มีอะไรบ้าง โดยทั่วไป คือ สารสนเทศที่เป็นผลของการประเมินแต่ละด้านตามรูปแบบการประเมินที่ใช้ การเขียนไม่เขียนเพียงแต่ระบุว่า ได้ผลการประเมินโครงการเป็นข้อเท็จจริงอะไรบ้าง แต่ต้องระบุว่าการได้ทราบข้อมูลสารสนเทศนั้นจะเกิด ประโยชน์อะไรบ้าง คือ ระบุชัดว่าใครหรือหน่วยงานใดสามารถน าข้อมูลสารสนเทศนั้นไปใช้ประโยชน์ในเรื่อง ใด อย่างไร บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และสาระส าคัญของโครงการ มีส่วนประกอบและแนวการเขียน ดังนี้ 2.1 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ให้เสนอเฉพาะสาระส าคัญที่จะน ามาใช้ในการ ประเมิน เช่น ใช้ในการก าหนดกรอบแนวทางการประเมิน ตัวแปร เนื้อหา หรือใช้ในการสร้างเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.2 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการประเมินโครงการ ให้เสนอเฉพาะสาระส าคัญพอสังเขป เกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับการประเมิน ได้แก่ ความหมาย ความส าคัญ วัตถุประสงค์ของการประเมินและการ ประเมินโครงการ และแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับรูปแบบที่ใช้ในการประเมิน 2.3 สาระส าคัญของโครงการ ไม่ให้น าโครงการทั้งหมดมาใส่ แต่น าเฉพาะสาระส าคัญที่ใช้ ในการประเมิน ได้แก่ ชื่อโครงการ ผู้รับผิดชอบ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมการด าเนินการ และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยให้ตัดส่วนที่เป็นแผนการ ด าเนินงาน (ให้ใช้เฉพาะกิจกรรมการด าเนินการ) และงบประมาณออก บางโครงการที่ก าหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายเกินศักยภาพของโครงการที่ด าเนินการให้บรรลุได้ ผู้ประเมินต้องท าการวิเคราะห์และก าหนดว่า ในการประเมินครั้งนี้จะท าการประเมินในขอบเขตเท่าใด 8 2.4 งานวิจัยและงานประเมินที่เกี่ยวข้อง ให้เสนอเฉพาะโครงการและวิธีด าเนินการ ประเมินที่ตรงและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในการประเมินครั้งนี้ เช่น เป็นตัวอย่างหรือแนวด าเนินการ ประเมิน ใช้ในการก าหนดกรอบแนวทางการประเมิน การก าหนดตัวแปร ตัวบ่งชี้ การสร้างหรือหาคุณภาพ เครื่องมือ หรือใช้ในการประกอบการอภิปรายผลการประเมิน เป็นต้น 2.5 กรอบแนวทางการประเมิน เป็นส่วนสรุปภาพรวมที่ใช้ในการประเมิน แนวการเขียน นิยมเสนอในรูปตารางขวาง ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ประเด็นการประเมินหรือตัวบ่งชี้ แหล่งข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และเกณฑ์ การแปลผลการการตัดสินผลการประเมิน การเขียนในบทที่ 2 นอกจากจะเสนอเฉพาะสาระส าคัญที่ตรงและเฉพาะที่ใช้ในการประเมินแล้ว ต้องค านึงถึงความทันสมัย มีความใหม่ ถ้าเป็นไปได้ไม่ควรเกิน 5 ปี เว้นแต่บางเรื่องที่เป็นสาระส าคัญที่ยัง ทันสมัยหรือยังใช้อยู่และไม่มีใครเขียนหรือกล่าวถึงขึ้นอีก ก็สามารถน ามาใช้ได้โดยอนุโลม ดังนั้น ถ้าจะน า รายละเอียดของแต่ละหัวข้อที่เขียนไว้ในโครงร่างการประเมิน หรือข้อเสนอโครงการประเมิน (TOR) มาใช้ ใน รายงานการประเมินนี้ต้องทบทวนใหม่ว่าแนวคิด ทฤษฎี ข้อมูล หลักฐาน และการอ้างอิง ที่ได้รวบรวมและ น าเสนอไว้มีการเปลี่ยนแปลงและต้องเพิ่มเติมอะไรบ้าง บทที่ 3 วิธีด าเนินการประเมิน มีส่วนประกอบและแนวการเขียน ดังนี้ 3.1 รูปแบบการประเมิน (Model) ที่ใช้ เขียนให้ตรงกับบทที่ 1 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2.1 ประชากร เขียนให้ตรงกับบทที่ 1 ในหัวข้อขอบเขตประชากร 3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง เขียนให้สอดคล้องกับประชากร และระบุการได้มาหรือการสุ่ม ตัวอย่าง 3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุประเภท ลักษณะ ส่วนประกอบ และ ขั้นตอนการสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ส าคัญที่สุดของรายงาน การประเมิน คือ ต้องระบุคุณภาพของเครื่องมือพร้อมมีรายละเอียดหรือหลักฐานการวิเคราะห์ในภาคผนวก 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล ระบุว่าได้เก็บข้อมูลโดยวิธีใด เมื่อไหร่ อย่างไร มีปัญหา อุปสรรคได้ด าเนินการแก้ไขอย่างไร และผลการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นอย่างไร 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ระบุวิธีการวิเคราะห์และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เกณฑ์ การแปลผล และเกณฑ์การตัดสินผลการประเมิน บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล หรือผลการประเมินจ าแนกตาม วัตถุประสงค์ของการประเมิน เน้นความถูกต้อง น่าสนใจ เข้าใจง่าย และแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยไม่ แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เช่นเดียวกับการเขียนรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย และมีส่วนที่เพิ่มเติม จากการรายงานการประเมินโครงการ คือ ต้องแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลเทียบกับเกณฑ์การตัดสินที่ก าหนดไว้ บทที่ 5 สรุปผลการประเมิน อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ มีส่วนประกอบและแนวการเขียน ดังนี้ 5.1 สรุป เป็นการสรุปย่อสาระทั้งหมดตั้งแต่ความเป็นมาของโครงการ เหตุผลที่มุ่งประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน และวิธีการประเมิน 5.2 สรุปผลการประเมิน น าเสนอผลการประเมินโดยสรุปและน าเสนอเรียงล าดับตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ 9 5.3 อภิปรายผลการประเมิน อภิปรายผลการประเมินโดยเขียนให้สอดคล้องกับสรุปผลการ ประเมิน คือ เรียงล าดับตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน และแต่ละผลการประเมินอภิปรายโดยเสนอเหตุผล และความคิดเห็นว่าที่ผลการประเมินดังกล่าวเป็นเช่นนั้นเป็นเพราะเหตุใด โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องตามหลัก ภาษา (ใช้ภาษาเขียน) มีความกระชับ ชัดเจน มีเหตุผลอย่างน่าเชื่อถือ โดยมีการอ้างอิงข้อมูล หลักฐาน ค ากล่าว แนวคิด และทฤษฎี ประกอบ อาจจะเสนอผลการศึกษา วิจัย หรือการประเมินที่สอดคล้อง หรือไม่สอดคล้องพร้อมทั้งการให้เหตุผลของการสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องประกอบ 5.4 ข้อเสนอแนะ แบ่งเป็น 5.4.1 ข้อเสนอแนะแนวทางการน าผลการประเมินไปใช้ เสนอแนะประเด็นเด่น ทั้ง ทางบวก คือ ผลการประเมินมีความโดดเด่น ให้ข้อแนะน าว่าควรรักษาคุณภาพไว้ และทางลบ ผลการ ประเมินไม่ถึงเกณฑ์ ให้ข้อแนะน าในการปรับปรุง 5.4.2 ข้อเสนอแนะส าหรับการปรับปรุงในการประเมินในครั้งต่อไป เสนอแนะให้เพิ่มเติมหรือ ปรับเปลี่ยนวิธีด าเนินการประเมินหรือส่วนประกอบที่เป็นจุดด้อย ข้อจ ากัด หรือยังไม่ดีพอส าหรับการประเมินครั้ง นี้ เช่น ปรับเปลี่ยนรูปแบบ (model) ที่ใช้ในการประเมิน ขอบเขตการประเมิน ตัวแปร ตัวบ่งชี้หรือตัวชี้วัด แหล่งข้อมูลหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล เครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการ น าเสนอผลการประเมิน การเขียนส่วนท้าย ส่วนท้าย มีส่วนประกอบและแนวการเขียนรายงาน ดังนี้ 1. บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง เป็นการระบุรายชื่อหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ บุคคล และวัสดุ ต่าง ๆ ที่ผู้ประเมินได้อ้างอิง การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิงให้ยึดหลักความถูกต้อง ความ ครบถ้วนสมบูรณ์ และความเป็นระบบ เอกสารอ้างอิงเขียนเฉพาะรายการที่มีการอ้างอิงและครบทุกรายการ หลักเกณฑ์ที่ส าคัญของการเขียนบรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง มีดังนี้ 1.1 การเรียงล าดับเอกสารไม่ต้องมีเลขที่ก ากับ ให้เรียงล าดับชื่อผู้แต่งหรือรายงานตามอักษร เริ่ม ด้วยเอกสารภาษาไทยก่อน แล้วตามด้วยเอกสารภาษาต่างประเทศ เอกสารอ้างอิงหลายเรื่องที่มีผู้แต่งคน เดียวกันหรือชุดเดียวกันให้เรียงตามล าดับปีของเอกสาร ถ้ามีเอกสารอ้างอิงหลายเรื่องโดยผู้แต่งคนเดียวกัน หรือชุดเดียวกันภายในปีเดียวกันให้ใส่อักษร ก, , ในเอกสารภาษาไทย และ a, b, ในเอกสาร ภาษาต่างประเทศไว้หลังปีของเอกสาร 1.2 การเขียนชื่อผู้เขียน กรณีเอกสารภาษาไทยให้ใช้ชื่อเต็ม โดยใช้ชื่อตัวน าหน้าตามด้วยชื่อสกุล ในกรณีที่ผู้แต่งไม่ได้เขียนชื่อเต็มหรือไม่อาจหาชื่อเต็มของผู้แต่ง อนุโลมให้ใช้ชื่อย่อได้ กรณีเอกสาร ภาษาต่างประเทศให้ใช้อักษรละติน โดยเอาชื่อสกุลขึ้นก่อนตามด้วยชื่ออื่นๆ ส าหรับชื่อสกุลให้เขียนเต็ม ส่วน ชื่ออื่นๆ ให้เขียนเฉพาะอักษรตัวแรก 2. ภาคผนวก เป็นการน าเสนอข้อมูลและสิ่งที่จะชวยใหผูอานเขาใจสาระของรายงานการประเมิน โครงการไดดียิ่งขึ้น โดยรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ ถ้ามีหลายเรื่อง ควรแยกและจัดล าดับโดยมีตัวเลขหรือ ตัวอักษรก ากับ ภาคผนวกแต่ละเรื่องจะมีชื่อหรือไม่มีก็ได้ เช่น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข หรือ ภาคผนวก ก. รายละเอียดของโครงการ ภาคผนวก ข. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ภาคผนวก ค. รายนามผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ภาคผนวก ง. รายละเอียดผลการวิเคราะห์ข้อมูล ฯลฯ 10 การประเมินรายงานการประเมินโครงการ การประเมินรายงานการประเมินโครงการ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของรายงานโดยพิจารณาหัวข้อ และรายละเอียดของแต่ละหัวข้อเทียบกับเกณฑ์ซึ่งเป็นลักษณะของรายงานที่ดีตามระเบียบวิธีการประเมิน โครงการ จุดมุ่งหมายของการประเมินรายงานการประเมินโครงการ เพื่อการน าผลการประเมินไปใช้ เพื่อ การปรับปรุงรายงานการประเมินโครงการ และเพื่อเป็นแนวทางในการประเมินโครงการ การประเมิน รายงานการประเมินโครงการ ควรประเมิน 2 ด้าน คือ การประเมินด้านคุณค่าของงานประเมิน และด้าน คุณภาพของรายงานการประเมินโครงการ วิธีการประเมินคุณภาพรายงานการประเมินโครงการ ใช้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ รายการรายงานการประเมินโครงการ ส่วนการประเมินคุณค่ารายงานการประเมินโครงการ อาจใช้การ ประเมินวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีร่วมกัน คือ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ผู้ใช้ผลการประเมินโครงการ คณะกรรมการ การท าประชาพิจารณ์ หรือการน ารายงานการประเมินโครงการไปใช้อ้างอิง เครื่องมือที่ใช้ ในการประเมินอาจใช้แบบตรวจสอบรายการ หรือแบบมาตรประมาณค่า เกณฑ์การประเมิน ใช้ฐานนิยม หรือใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนเทียบกับเกณฑ์ ความหมายของการประเมินรายงานการประเมินโครงการ การประเมินรายงานการประเมินโครงการ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของรายงานโดยพิจารณาหัวข้อ และรายละเอียดของแต่ละหัวข้อเทียบกับเกณฑ์ซึ่งเป็นลักษณะของรายงานที่ดีตามระเบียบวิธีการประเมิน โครงการ (project evaluation methodology) มีแนวทางการประเมินเช่นเดียวกับการประเมินคุณภาพ รายงานการวิจัย (evaluation of research หรือ research evaluation) ซึ่งพิจารณาประเด็นย่อยๆ ของ รายงานเทียบกับเกณฑ์ (criteria) ที่ก าหนดขึ้น แล้วน าผลการพิจารณามาตัดสินคุณภาพของรายงานและ ความสามารถของผู้ประเมินว่ามีความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร จุดมุ่งหมายของการประเมินคุณภาพรายงานการประเมินโครงการ ผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการที่จะน าผลการประเมินโครงการไปใช้ ตลอดจนผู้สนใจรายงาน การประเมินโครงการจะน ารายงานดังกล่าวไปใช้ควรพิจารณาเลือกสรรรายงานการประเมินโครงการว่ามี คุณภาพหรือไม่ นอกจากนั้นผู้ที่ประเมินโครงการควรใช้กระบวนการประเมินคุณภาพนี้ ตรวจสอบคุณภาพ ของรายงานการประเมินโครงการที่จัดท าขึ้นว่าเป็นไปตามเกณฑ์ระเบียบวิธีที่ก าหนดโดยทั่วไปหรือไม่ หัวข้อ ใดที่ตรวจสอบแล้วมีคุณภาพไม่ถึงเกณฑ์ ก็จะได้ท าการปรับปรุงให้มีคุณภาพ ก่อนที่จะเผยแพร่รายงาน ดังกล่าวต่อไป การประเมินคุณภาพรายงานการประเมินโครงการมีจุดมุ่งหมายดังนี้ 1. เพื่อการน าผลการประเมินไปใช้ การประเมินคุณภาพของรายงานการประเมินเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ จะใช้ผลการประเมินโครงการ เพื่อความมั่นใจในคุณภาพ ความถูกต้อง เที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของผล การประเมิน โดยการพิจารณาจากคุณภาพของรายงานการประเมินโครงการ 2. เพื่อปรับปรุงรายงานการประเมินโครงการ ผู้ประเมินสามารถใช้กระบวนการประเมินคุณภาพ รายงานตรวจสอบคุณภาพของรายงานการประเมินโครงการของตน เป็นการพิจารณาจุดบกพร่องของรายงาน เพื่อให้ผู้ประเมินน ามาปรับปรุงรายงานการประเมินโครงการของตนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3. เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินโครงการ ผู้ที่จะท าการประเมินโครงการสามารถใช้กระบวนการ ประเมินรายงานการประเมินโครงการ ตรวจสอบคุณภาพของรายงานเพื่อคัดเลือกรายงานการประเมิน โครงการที่ดีและตรงกับงานของตนไปใช้เป็นแบบอย่างหรือใช้เป็นแนวทางในการประเมิน ตลอดจนใช้ในการ อ้างอิง การประเมินคุณภาพรายงานการประเมินโครงการที่ผู้อื่นได้ท าไว้จะท าให้ทราบจุดเด่นและจุดด้อยของ 11 รายงานที่ศึกษา ช่วยลดข้อผิดพลาดและข้อจ ากัดของรายงานการประเมินโครงการที่จะท าใหม่หากจะท าใน ลักษณะที่มีผู้อื่นท าไว้แล้ว ท าให้งานประเมินโครงการของตนมีคุณภาพ และสามารถด าเนินการประเมินได้ อย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบของการประเมินรายงานการประเมินโครงการ องค์ประกอบของการประเมินรายงานการประเมินโครงการ ประเมิน 2 องค์ประกอบ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2543: 158) 1. องค์ประกอบด้านคุณภาพ เป็นการพิจารณารายงานการประเมินโครงการถึงความถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักของการประเมินที่ดี 2. องค์ประกอบด้านคุณค่า เป็นการพิจารณาประโยชน์หรือความส าคัญของการประเมินโครงการ นั้น เช่น ช่วยแก้ปัญหาเร่งด่วน ปัญหาส าคัญ พัฒนาสิ่งใหม่ หรือเป็นประโยชน์ในเชิงวิชาการ เป็นต้น แนวปฏิบัติในการประเมินรายงานการประเมินโครงการ การประเมินรายงานการประเมินโครงการ มีองค์ประกอบของการประเมิน 3 ส่วน ดังนี้ 1. มิติการประเมิน ท าการประเมิน 2 ด้าน คือ การประเมินคุณภาพรายงานการประเมิน โครงการ และการประเมินคุณค่ารายงานการประเมินโครงการ 2. วิธีการประเมิน มีวิธีการประเมินมีดังนี้ 2.1 การประเมินคุณภาพรายงานการประเมินโครงการ ใช้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการ วิจัยและการประเมินโครงการ จ านวน 3-5 คน ตรวจสอบรายการรายงานการประเมินโครงการ 2.2 การประเมินคุณค่ารายงานการประเมินโครงการ อาจใช้การประเมินวิธีใดวิธีหนึ่งหรือ หลายวิธีร่วมกัน ดังนี้ 2.2.1 ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมิน การวิจัย และด้าน เนื้อหาของโครงการ 2.2.2 ประเมินโดยผู้ใช้ผลการประเมินโครงการ 2.2.3 ประเมินโดยคณะกรรมการ (Peer Review) 2.2.4 ประเมินโดยประชาพิจารณ์(Public review) 2.2.5 ประเมินจากการน าไปใช้อ้างอิง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพและการประเมินคุณค่า รายงานการประเมินโครงการ ใช้แบบประเมินที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) หรือแบบ มาตรประมาณค่า (Rating scale) 4 เกณฑ์การประเมิน ทั้งเกณฑ์การประเมินรายการ รายด้าน และภาพรวมของคุณภาพและ คุณค่ารายงานการประเมินโครงการ ใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้ 4.1 กรณีใช้แบบตรวจสอบรายการ ใช้ฐานนิยมหรือความถี่ส่วนใหญ่ เกณฑ์ คือ ร้อยละ 50 ขึ้น ไป หรือ ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการประเมินของกลุ่มผู้ประเมินที่ผู้ประเมินแต่ละคนประเมินรายการใด ผ่านให้ 1 คะแนน ไม่ผ่านให้ 0 คะแนน เกณฑ์การผ่านรายการนั้น คือ 0.50 – 1.00 ส่วนรายด้าน และ ภาพรวมของคุณภาพและคุณค่ารายงานการประเมินโครงการ ใช้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ จ านวนหรือ ค่าเฉลี่ยร้อยละ 50 ขึ้นไป 4.2 กรณีใช้แบบมาตรประมาณค่า ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการประเมินของกลุ่มผู้ประเมิน เกณฑ์การผ่าน คือ ร้อยละ 50 ขึ้นไป 12 5. รายการประเมิน 5.1 รายการประเมินคุณภาพรายงานการประเมิน ให้ประเมินรายการโดยพิจารณาแต่ละ รายการราตามรายละเอียดส่วนประกอบของรายงานการประเมินโครงการ 5.2 รายการประเมินคุณค่าของรายงานการประเมินโครงการ เน้นการประเมินคุณค่า 2 มิติ คือ 5.2.1 คุณค่าทางวิชาการ เป็นการประเมินความส าคัญหรือประโยชน์ของงานการประเมิน โครงการ โดยพิจารณาจากผลการประเมินโครงการที่ได้ว่าเกิดคุณค่าทางวิชาการมากน้อยเพียงใด อาจพิจารณา เพิ่มเติมจากการที่ผู้ศึกษาและอ้างอิงคุณค่าทางวิชาการของรายงานการประเมินโครงการดังกล่าว 5.2.2 คุณค่าทางการปฏิบัติ เป็นการประเมินคุณค่าการน าผลการประเมินไปใช้ อาจจะ ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญที่พิจารณาจากรายงานการประเมินโครงการและผลการประเมินโครงการ และ/หรือ สอบถามความพึงพอใจของผู้ที่ใช้ประโยชน์จากผลการประเมิน ซึ่งผู้ใช้ประโยชน์นั้น เป็นกลุ่มที่ผู้ประเมินได้ระบุ ไว้ในรายงานการประเมินโครงการ หัวข้อความส าคัญหรือประโยชน์ของการประเมินโครงการ หรือเป็นกลุ่มที่ ผู้เชี่ยวชาญระบุ โดยคุณค่าทางการปฏิบัติที่สอบถามความพึงพอใจของผู้ที่ใช้ประโยชน์จากการประเมินโครงการ ต้องประเมินหลังจากการประเมินโครงการได้ส าเร็จและเว้นระยะเวลาที่เพียงพอที่ผู้ใช้ประโยชน์สามารถประเมิน หรือให้ข้อมูลได้ ทั้งนี้การประเมินจากผู้ใช้ผลการประเมินจะต้องได้รับการเผยแพร่และสนับสนุนการน าผลการ ประเมินไปใช้ ตามบริบทและความเหมาะสมของการประเมินโครงการดังกล่าว

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น